Le secrétaire général de la CFDT François Chérèque (à gauche) a défilé, pour la première fois depuis 2003, aux côtés de Bernard Thibault, secrétaire général de la CGT (à droite), en tête du défilé commun du 1er-Mai à Paris।Le principal cortège a réuni environ 15 000 personnes à Paris. Plus de 300 manifestations ont eu lieu à travers la France, avec le pouvoir d'achat et les retraites comme revendications principales.Le pouvoir d'achat et la réforme des retraites ont été au centre des revendications jeudi dans les défilés de la fête du Travail. Les cortèges ont réuni entre 119.600 et 200.000 personnes, selon les sources. Une mobilisation équivalente à celle de 2007 et prélude à un mois de mai également marqué par des manifestations de lycéens et de fonctionnaires (le 15) et contre la réforme des retraites (le 22).A Paris,la marche intersyndicale organisée conjointement par la CGT et la CFDT a réuni 15 000 personnes, selon la police, 30 000 selon les organisateurs. Le cortège, parti à 15h de la place de la République pour se diriger vers celle de la Nation, rassemblait également des manifestants issus de la FSU, de l'UNSA, de Sud-Solidaires et des principaux syndicats lycéens, étudiants et enseignants. Jeudi matin, la CFTC a de son côté rassemblé 2.500 personnes selon la police, 6.000 selon les organisateurs, tandis que 2.000 personnes défilaient avec Force Ouvrière (400 selon la police).En province, la plus grosse manifestation a eu lieu à Grenoble où 4 200 personnes selon la police, 7 000 selon la CGT se sont réunies.A Marseille, entre 3 000 et 5 000 personnes selon la police, 30.000 selon les syndicats, ont défilé dans un cortège largement dominé par la CGT, FO ne prenant pas part au défilé. Dans les environs, plusieurs centaines de manifestants se sont rassemblé à Arles, Martigues ou Nîmes.A Toulouse, 3 200 à 4 000 personnes ont manifesté au sein d'un cortège intersyndical unitaire dans lequel se trouvait le nouveau maire socialiste Pierre Cohen. A Lyon, 2.700 personnes selon la police, 5.000 selon les organisateurs, étaient réunis. L'an passé, la police avait dénombré 3.100 manifestants.Dans l'Ouest, on dénombrait 2.000 personnes selon la police, 4.000 selon la CGT, à Nantes de même qu'à Bordeaux, et entre 500 et 700 personnes à Saint-Nazaire. A Rennes, quelques 1.200 manifestants ont défilé, avec une poignée de lycéens et des salariés de Keolis Emeraude en grève.On comptait également un millier de personnes à Lille, 3.000 à Amiens, et 2.500 à 4.000 au Havre. Enfin, Strasbourg a été la seule ville de province à accueillir un des leaders syndicaux. Alain Olive, secrétaire général de l'UNSA, a rejoint un cortège de 2.000 à 3.000 personnes selon la police et les organisateurs. Ses homologues des autres syndicats défilaient tous à Paris. Au total, ce sont quelque 150 défilés et rassemblements qui sont prévus ce jeudi, selon un relevé effectué par la CGT.
1 พฤษภาคม ณ บริเวณสี่แห่ง
การเดินขบวนเมื่อวันที่ 1 พ.ค. : มีจำนวนผู้ร่วมเดินขบวนมากกว่า 100,000 คน
เลขาธิการ CFDT ( สหภาพแรงงานประชาธิปไตยแห่งฝรั่งเศส ) นาย François Chérèque( คนซ้าย ) ได้เข้าร่วมเดินขบวนเป็นครั้งแรกตั้งแต่ปี 2003 ผู้ซึ่งยืนอยู่ข้าง ๆ นาย Bernard Thibault เลขาธิการ CGT ( สหภาพแรงงานภาคขนส่งมวลชน ) ( คนขวา ) ผู้นำขบวนของชุมชนในวันที่ 1 พ.ค.ที่ปารีส ขบวนหลักใหญ่ ๆ ที่สำคัญมีประมาณ 15,000 คน การประท้วงมากกว่า 300 แห่งเกิดขึ้นในฝรั่งเศส เป็นการว่าด้วยเรื่องของการเรียกร้องสิทธิเพื่อต่อต้านอำนาจในเรื่องอำนาจการซื้อและการเกษียณอายุราชการซึ่งเป็นหัวข้อหลักในการประท้วงครั้งนี้
อำนาจการซื้อและการเกษียณออกจากราชการเป็นเรื่องหลัก ๆ ในการเรียกร้องสิทธิเมื่อวันพฤหัสบดี เนื่องในวันแรงงานแห่งชาติ ขบวนมีการรวมตัวกันระหว่าง 119,600 และ 200,000 คนจากแหล่งข่าวที่รายงาน การเคลื่อนตัวจะเหมือนเช่นปี 2007 และรวมไปถึงในระยะเดือนพฤษภาคมนี้ โดยการเดินขบวนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาและข้าราชการพลเรือน ( วันที่ 15 ) และการปฏิรูปเกษียณอายุราชการ ( วันที่ 22 )
ที่ปารีส มีการเดินขบวนของนานาสมาพันธ์มารวมตัวกันอย่างต่อเนื่องโดย CGT และ CFDT 15,000 คนตามที่ทางตำรวจนับจำนวนไว้ 30,000 คนตามที่แกนนำของกลุ่มระบุ ยังมีอีกขบวนหนึ่งได้เคลื่อนออกเมื่อเวลา 15 นาฬิกาที่จัตุรัส République ( la place de la République ) เพื่อมุ่งตรงไปยังจัตุรัส Nation ( la place de la Nation ) มีผู้เดินขบวนชุมนุมจาก FSU ( สหพันธ์เอกภาพผู้ประกอบการ ) UNSA (สมาคมผู้ประกอบการอิสระ ) กลุ่มพันธมิตรทางตอนใต้และกลุ่มสหพันธ์ที่สำคัญเช่น กลุ่มนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา นิสิตและนักศึกษา ในช่วงเช้าของวันพฤหัสบดีทางด้านของ CFTC ( สหภาพผู้ประกอบอาชีพชาวคริสเตียนแห่งชาติฝรั่งเศส ) มีการชุมนุมกัน 2,500 คนตามที่ทางตำรวจนับจำนวนไว้ 6,000 คนตามที่แกนนำของกลุ่มระบุ ในขณะที่ 2 ,000 คนเดินร่วมกับขบวน FO ( สมาพันธ์กรรมกรผู้ใช้แรงงาน ) ( 400 คนตามที่ทางตำรวจนับจำนวน )
ในต่างจังหวัด การเดินขบวนคัดค้านที่ยิ่งใหญ่ที่สุดอยู่ที่เมือง Grenoble ซึ่งมีถึง 4,200 คนตามที่ทางตำรวจนับจำนวน 7,000 คนของ CGT ที่มารวมกลุ่มกัน
ที่ Marseille มีการเดินขบวนระหว่าง 3,000 และ 5,000 คนที่ทางตำรวจคาดการณ์ไว้ อีก 30,000 คนในแต่ละสหพันธ์ มีการเดินขบวนใหญ่ที่ครอบคลุมโดยเครือข่าย CGT แต่กลุ่ม FO ไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งในกลุ่มขบวนนี้ บริเวณรอบนอกมีผู้เดินขบวนเพื่อแสดงความคิดเห็นทางการเมืองมากมายประมาณ 100 คนรวมตัวกันที่เมือง Arles, Martigues หรือที่เมือง Nîmes
ที่ Toulouse , มี 3,200 ถึง 4,000 คนมาร่วมขบวนประท้วงที่รวมกลุ่มมาจากหลาย ๆ สถาบัน ซึ่งกลุ่มนี้เป็นกลุ่มที่เพิ่งได้นายกเทศมนตรีคนใหม่ที่มาจากกลุ่มแนวความคิดสังคมนิยมชื่อ นาย Pierre Cohen ส่วนที่ Lyon , มีการชุมนุม 2,700 คนตามที่ทางตำรวจนับจำนวน 5,000 คนตามที่แกนนำของกลุ่มระบุ ในปีที่ผ่านมา กรมตำรวจระบุมีผู้เดินขบวนเพื่อแสดงความคิดเห็นทางการเมืองร่วมจำนวน 3,100 คน
ในภาคตะวันตก มีจำนวน 2,000 คนตามที่ทางตำรวจนับจำนวน 4,000 คนของ CGT ที่มารวมกลุ่มกันที่เมือง Nantes มีจำนวนคนเดินขบวนเท่า ๆ กันเช่นเดียวกันกับเมือง Bordeaux และระหว่าง 500 และ 700 คนที่เมือง Saint-Nazaire ที่เมือง Rennes มีผู้เดินขบวนเพื่อแสดงความคิดเห็นทางการเมืองประมาณ 1,200 คน ร่วมกับกลุ่มนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาอีกกลุ่มหนึ่งและกลุ่มพนักงานเงินเดือนบริษัทสถานีรถบัส Keolis Emeraude ที่นัดกันหยุดงาน
ตามที่คาดหมายไว้เช่นเดียวกันว่าที่เมือง Lille นับจำนวนคนได้หนึ่งพันคน 3,000 คนที่เมือง Amiens และ 2,500 ถึง 4,000 คนที่เมือง Havre ผลสรุปคือที่ Strasbourg เป็นเพียงเมืองเดียวในต่างจังหวัดที่มีการต้อนรับผู้นำกรรมกรผู้ใช้แรงงาน และนาย Alain Olive เลขาธิการ UNSA ได้ร่วมเดินขบวนด้วยซึ่งมีจำนวน 2,000 ถึง 3,000 คนที่ทางตำรวจและแกนนำของกลุ่มระบุไว้ เฉกเช่นเดียวกับสมาพันธ์อื่นที่เดินขบวนพร้อม ๆ กัน ณ กรุงปารีส สรุปรวมแล้วก่อนหน้าที่จะถึงวันพฤหัสบดีนี้ ได้มีการคาดการณ์ไว้ล่วงหน้าว่าจะมีการเดินขบวนประท้วงมากถึงประมาณ 150 ขบวนและมีการชุมนุม ตามที่ CGT ได้ประเมินไว้